บทที่
4
ระบบสารสนเทศทางเทศทางบัญชี และกระบวนการทางธุรกิจ
ความหมายของการจัดการทรัพยากรมนุษย์
การจัดการทรัพยากรมนุษย์ หรือ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ คือ การใช้กลยุทธ์เชิงรุกที่มีความสัมพันธ์กันอย่างต่อเนื่องในการบริหารจัดการ ทรัพยากรที่มีคุณค่ามากที่สุดในองค์กร นั่นคือบุคคลที่ทำงานทั้งกรณีที่ทำงานรวมกันและกรณีที่ทำงานคนเดียวเพื่อบรรลุเป้าหมายในการประกอบธุรกิจใดๆ กลยุทธ์ในการจัดการทรัพยากรมนุษย์นั้นจะเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วไปตามเวลาและสถานการณ์จึงต้องมีการพัฒนาและปรับปรุงตลอดเวลา ด้วยเหตุนี้ในธุรกิจหลากหลายประเภทและขนาดจึงมีแผนกหรือหน่วยงานที่ทำหน้าที่ในการจัดการทรัพยากรมนุษย์โดยเฉพาะ ซึ่งขนาดของแผนกหรือหน่วยงานนั้น จะมากน้อยก็ขึ้นอยู่กับขนาดของธุรกิจเองรวมถึงความสำคัญของทรัพยากรมนุษย์ด้วยว่าสำคัญยิ่งยวดมากน้อยเพียงใดการจัดการทรัพยากรมนุษย์ถือเป็นทั้งทฤษฎีในเชิงวิชาการและแบบปฏิบัติในธุรกิจที่ศึกษาวิธีการบริหารแรงงานทั้งในภาคทฤษฎีและปฏิบัติ
ความสำคัญของการจัดการทรัพยากรมนุษย์
ในการบริหารองค์กร
มนุษย์นับเป็นทรัพยากรสำคัญที่จำเป็น และต้องใช้ทรัพยากรมนุษย์จำนวนมากในหลากหลายหน้าที่
เพราะทรัพยากรมนุษย์จะเป็นผู้สร้างสรรค์งานบริการและเป็นผู้ให้บริการด้านสุขภาพที่เน้นคุณภาพ มาตรฐาน
ความปลอดภัย และคุณธรรมจริยธรรม ซึ่งการที่จะได้มาซึ่งทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพการพัฒนาและการรักษาทรัพยากรมนุษย์ให้ทำงานให้กับองค์การอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ตลอดจนการออกจากองค์การไปด้วยดีนั้น ล้วนต้องอาศัยการจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่ดี
ดังนั้น การจัดการทรัพยากรมนุษย์มีความสำคัญกับการบริหารองค์การ ดังต่อไปนี้คือ
Ø
ทำให้มีบุคลากรทำงานที่เพียงพอและต่อเนื่อง
Ø
ทำให้ได้คนดีและมีความสามารถเข้ามาทำงานในองค์การ
Ø
ทำให้มีการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
Øทำให้มีการบริหารค่าตอบแทนและสวัสดิการแก่บุคลากรอย่างเหมาะสม
Ø
ทำให้เกิดการป้องกันและแก้ไขพฤติกรรมที่เบี่ยงเบนของบุคลากร
Øทำให้เกิดการประเมินผลงานของบุคลากรที่เหมาะสมและสนับสนุนคนทำงานดี
Øทำให้เกิดความสัมพันธ์อันดีระหว่างคนทำงานด้วยกันและคนทำงานกับผู้บริหาร
โดยสรุปแล้วการจัดการทรัพยากรมนุษย์มีความสำคัญต่อการบริหารองค์การ
เพราะต้องใช้มนุษย์เป็นผู้ให้บริการที่สำคัญ ซึ่งการจัดการทรัพยากรมนุษย์จะช่วยให้มีคนทำงานที่เพียงพอและต่อเนื่องได้คนดีมีความสามารถมาทำงานที่เหมาะสมกับงานมีการรักษาคนให้อยู่กับองค์การโดยมีการพัฒนาการให้ค่าตอบแทนและสวัสดิการและการประเมินผลที่เหมาะสม ตลอดจนการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับคนทำงานซึ่งจะส่งผลให้สามารถใช้ศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ได้อย่างเหมาะสมในการทำงานให้องค์การบรรลุตามวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ของการจัดการทรัพยากรมนุษย์
การบริหารทรัพยากรมนุษย์
มีวัตถุประสงค์สำคัญที่จะช่วยขยายบทบาทหน้าที่งานด้านทรัพยากรมนุษย์ให้มีขอบข่ายของการปฎิบัติที่กว้างขึ้นเพื่อครอบคลุมดูแลการปฎิบัติภารกิจต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับบุคลากรและองค์การ ดังนี้
ü เพื่อช่วยให้บุคลากรใช้ทักษะ
ความรู้ ความสามารถปฎิบัติงานของตนได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ü
เพื่อช่วยองค์การดำเนินงานบรรลุผลตามเป้าหมายที่กำหนดไว้
ü เพื่อช่วยคัดสรรบุคลากรที่มีคุณภาพ
และมีแรงจูงใจใฝ่หาผู้ที่สำเร็จการศึกษาในระดับสูงเข้ามาปฎิบัติงาน
ü
เพื่อยกระดับความสามารถ
และสร้างความพึงพอใจในการปฎิบัติงานของบุคลากร
ü
เพื่อพัฒนา
และธำรงรักษาบุคลากรที่มีคุณค่าให้ปฎิบัติงานในระดับที่พึงปราถนาขององค์การ
กระบวนการจัดการทรัพยากรของแต่ละฝ่าย
ยกตัวอย่าง เช่น
Human Resource
Management Inputs
☼ แบบฟอร์มการดำเนินการของบุคลากร
☼
ใบบันทึกเวลา
☼ การอนุมัติการหักเงินเดือน
☼
แบบฟอร์มภาษีหัก ณ
ที่จ่าย
Human Resource
Management Outputs
☼ ข้อมูลงบการเงิน
☼ รายชื่อพนักงาน
☼ เอกสารการจ่ายเงินเดือน
☼ การตรวจสอบการลงทะเบียน
☼ รายงานทางภาษี
☼ สรุปเงินเดือน
การจัดการสินทรัพย์ถาวร
สินทรัพย์ถาวรเป็นสินทรัพย์ที่มีประโยชน์ใช้สอย
มากกว่า 1 ปี ซึ่งมีการจัดการสินทรัพย์ที่เกี่ยวข้องกับ การซื้อ การบำรุงรักษา
การประเมินค่า และการจำหน่าย
Fixed Asset Management
Inputs
☼ ใบขอเสนอซื้อ ต้องได้รับการอนุมัติจากผู้จัดการ 1 หรือมากกว่า
1 คน
☼ การรับรายงานเมื่อได้รับสินทรัพย์ถาวร
☼ ใบแจ้งหนี้ผู้จัดจำหน่าย เมื่อมีการจัดส่งสินทรัพย์
☼ คำสั่งงานก่อสร้างเมื่อบริษัทมีการสร้างสินทรัพย์
☼ รายงานการซ่อมแซม และบำรุงรักษา เพื่อเป็นการอัปเดตบัญชีค่า ใช้จ่ายสำหรับการซ่อมแซม และการบำรุงรักษา
☼ แบบฟอร์มการเปลี่ยนแปลงสินทรัพย์ถาวร
☼ ใบขอเสนอซื้อ ต้องได้รับการอนุมัติจากผู้จัดการ 1 หรือมากกว่า
1 คน
☼ การรับรายงานเมื่อได้รับสินทรัพย์ถาวร
☼ ใบแจ้งหนี้ผู้จัดจำหน่าย เมื่อมีการจัดส่งสินทรัพย์
☼ คำสั่งงานก่อสร้างเมื่อบริษัทมีการสร้างสินทรัพย์
☼ รายงานการซ่อมแซม และบำรุงรักษา เพื่อเป็นการอัปเดตบัญชีค่า ใช้จ่ายสำหรับการซ่อมแซม และการบำรุงรักษา
☼ แบบฟอร์มการเปลี่ยนแปลงสินทรัพย์ถาวร
Fixed Asset Management
Outputs
☼ข้อมูลงบการเงิน เป็นการให้รายละเอียดของการประเมินค่า สินทรัพย์ถาวร
☼การลงทะเบียนสินทรัพย์ถาวรแสดงเลขประจำสินทรัพย์และที่ตั้งของสินทรัพย์ถาวรและแห่ง
☼การลงทะเบียนค่าเสื่อมราคาแสดงค่าเสื่อมราคาและค่าเสื่อมราคา สะสม
☼ รายงานการซ่อมแซมและบำรุงรักษาแสดงค่าซ่อมแซม และบำรุง รักษา แสดงประวัติค่าซ่อมแซม และบำรุงรักษา
☼รายงานสินทรัพย์ที่จัดจำหน่ายแสดงสินทรัพย์ทั้งหมดที่จำหน่ายในระหว่างรอบระยะเวลาเวลาบัญชี
☼ข้อมูลงบการเงิน เป็นการให้รายละเอียดของการประเมินค่า สินทรัพย์ถาวร
☼การลงทะเบียนสินทรัพย์ถาวรแสดงเลขประจำสินทรัพย์และที่ตั้งของสินทรัพย์ถาวรและแห่ง
☼การลงทะเบียนค่าเสื่อมราคาแสดงค่าเสื่อมราคาและค่าเสื่อมราคา สะสม
☼ รายงานการซ่อมแซมและบำรุงรักษาแสดงค่าซ่อมแซม และบำรุง รักษา แสดงประวัติค่าซ่อมแซม และบำรุงรักษา
☼รายงานสินทรัพย์ที่จัดจำหน่ายแสดงสินทรัพย์ทั้งหมดที่จำหน่ายในระหว่างรอบระยะเวลาเวลาบัญชี
ที่มาภาพ: http://www.micron1998.com/formula/fm
กระบวนการผลิต
Production Process
Inputs
☼ แบบฟอร์มใบขอเสนอวัสดุ
☼ รายการวัสดุ
☼ ตารางการผลิตหลัก
☼ ใบสั่งผลิต
☼ บัตรลงเวลางาน
☼ แบบฟอร์มใบขอเสนอวัสดุ
☼ รายการวัสดุ
☼ ตารางการผลิตหลัก
☼ ใบสั่งผลิต
☼ บัตรลงเวลางาน
Production Process
Outputs
☼ข้อมูลงบการเงิน
☼รายการราคาวัสดุ
☼รายงานการใช้งานเป็นงวด
☼รายงานการกระทบยอดสินค้าคลคลัง
☼รายงานสถานะสินค้าคงเหลือ
☼รายงานการผลิตหยุดชะงัก
☼รายงานสถานะการผลิต
☼ข้อมูลงบการเงิน
☼รายการราคาวัสดุ
☼รายงานการใช้งานเป็นงวด
☼รายงานการกระทบยอดสินค้าคลคลัง
☼รายงานสถานะสินค้าคงเหลือ
☼รายงานการผลิตหยุดชะงัก
☼รายงานสถานะการผลิต
กระบวนการทางการเงิน
เป็นสิ่งที่บริษัทได้มา และมีการใช้ทรัพยากรทางการเงิน เช่น เงินสด
สินทรัพย์ที่มีสภาพคล่องอื่นๆ หรือการลงทุน รวมไปถึงกิจกรรมของการกู้ยืมเงินสด
หรือการขายหุ้น
Financing Process
Inputs
☼คำแนะนำในการโอนเงิน
☼บิลฝาก
☼เช็ค
☼รายการเงินฝาก-ถอนในบัญชีเงินฝาก
☼ข้อมูลการลงทุนในตลาดหุ้น
☼ข้อมูลดอกเบี้ย
☼ข้อมูลของสถาบันการเงิน
☼คำแนะนำในการโอนเงิน
☼บิลฝาก
☼เช็ค
☼รายการเงินฝาก-ถอนในบัญชีเงินฝาก
☼ข้อมูลการลงทุนในตลาดหุ้น
☼ข้อมูลดอกเบี้ย
☼ข้อมูลของสถาบันการเงิน
Financing Process Outputs
☼ข้อมูลงบการเงิน
☼งบประมาณเงินสด
☼รายงานการลงทุน
☼รายงานหนี้สินและดอกเบี้ย
☼อัตราส่วนทางการเงิน
☼รายงานรูปแบบการวางแผนทางการเงิน
☼ข้อมูลงบการเงิน
☼งบประมาณเงินสด
☼รายงานการลงทุน
☼รายงานหนี้สินและดอกเบี้ย
☼อัตราส่วนทางการเงิน
☼รายงานรูปแบบการวางแผนทางการเงิน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น